วันศุกร์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2559

Cadio คือ อะไร





Cadio หลายคนอาจจะเคยได้ยิน นักกีฬา หรือเทรนเนอร์ ผู้ฝึกสอน หรือ เพื่อนๆ ของคุณพูดถึง แต่ก็เป็นอีก สิ่ง ที่ เป็นความรู้ใหม่ สำหรับบางคน ที่ ต้องการลดน้ำหนัก

Cadio คือ การ ออกกำลังกาย ที่ใช้กำลัง ของกล้ามเนื้อ ต่อเนื่อง 10  นาที ขึ้นไป ซึ่งเบรคได้ไม่เกิน 10 วินาที ซึ่ง การใช้กล้ามเนื้อ มันก็ ทำให้ หัวใจ และปอด ต้องทำงาน ร่วมไปด้วย ก็เลยเรียกการ ออกกำลัง กายประเภทนี้ ว่า Cadio ซึ่ง เป็นภาษา ลาติน ว่า หัวใจ

Cadio มาจาก Cadiovalcula + respiratory ซึ่งหมายถึง การทำงานของ ระบบไหลเวียนเลือด และน้ำเหลือง (Blood and Lymphatic Cerculation System ) กับ ระบบ หายใจ (Respiratory System )  รวมกัน พูดง่ายๆคือระบบไหลเวียนโลหิต ที่สูบฉีดเลือด และ ระบบ การหายใจ ที่ส่งเข้าสู่กล้ามเนื้อ เพื่อให้กล้ามเนื้อ เคลื่อนไหวไปตาม ความต้องการของเรา และมันทำให้เกิด ความร้อนขึ้น นั่นเอง

 Cadio หมายถึง กรทำงาน ของหัวใจ และ ปอด ที่ทำหน้าที่สูบฉีด เลือด เข้าสู่กล้ามเนื้อ เป็นเวลาต่อเนื่อง 10 นาทีขึ้นไป

ซึ่งถ้านิยาม ตามความหมายนี้ ก็น่าจะ หมายความว่าการ ออกกำลังกาย ทุกชนิด ที่มีการใช้กล้ามเนื้อ อย่างต่อเนื่อง 10 นาที โดย ทีการ พัก ระหว่าง ช่วง ไม่เกิน 10 วินาทีก็น่า จะเป็นการ Cadio ด้วยเช่นกัน ยกตัวอย่าง

การยกเวต แบบ เซอกิตเทรนนิ่ง  ซึ่ง จะเป็นการ ยกน้ำหนัก ที่มีความต่อเนื่อง เซต ต่อเซต และพัก เซตไม่เกิน 10 วินาที ก็สามารถ มอง ได้ว่าเป็น การคาดิโอ ในแบบ ของการเวตเทรนนิ่งได้เช่นกัน

ดังนั้น คำนิยาม ของการ Cadio จึงไม่ได้ มีความหมาย แยกกันอย่างชัดเจน ระหว่างการ วิ่ง การ เวตเทรนนิ่ง การว่ายน้ำ หรือกีฬาอื่นใด ที่เราใช้ล้ามเนื้อ อย่างต่อเนื่อง ตามกฏเกณ์ นี้ก็นับเป็น Cadio เช่นกัน


ซึ่งในทางกลับกัน การ Cadio ที่มี ค่า Intensity ( ความหนัก หน่วงในการฝึก ) มากขึ้น จนกล้ามเนื้อ เลือกใช้ กล้ามเนื้อ มัดใหญ่ ก็สามารถ สร้างกล้ามเนื้อ ได้เช่นเดียวกับ การเวตเทรนนิ่ง เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น การ ทำ Cadio แบบ HIIT และการวิ่ง 100เมตร การวิ่งระยะสั้น ที่ใช้ความเร็วมากๆ ก็มี ค่า ความหนักหน่วงที่มากในการใึกเช่นกัน  แต่เราไม่สามารถ ทำให้หนักต่อเนื่อง ได้ จะงใช้วิธีการสลับ หนักและเบา นั่นเอง

สรุปในความคิดส่วนตัวผม มองว่า Cadio และ การเวตเทรนนิ่ง ก็ล้วน เป็น Cadioได้ และ เป็น การสร้างกล้ามเนื้อ ได้ เหมือนกัน ต่างกันที่ความต่อเนื่อง และ ความหนักมนการฝึก ที่มีผลต่อการเลือกใช้กล้ามเนื้อ ของ ร่างกาย นั่นเอง

บทนี้ เป็น ทัศนะ และมุมมอง ของผม ผ่าน ความรู้ที่เรียนมา เกี่ยวกัยคำนิยามนี้ ว่า ทั้ง สอง สิ่ง ต่างมีจุดร่วมและจุดต่างที่ คล้อยตามไปดวนกันได้เช่นกัน



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น